ท่ามกลางวิกฤตการณ์ทางการเงินของประเทศเลบานอน คนในประเทศเขารับมือกันอย่างไร? ถ้าคุณอยากรู้ล่ะก็เข้ามาอ่านกันได้เลย
มาสำรวจภาพรวมของสภาพแวดล้อมที่สมบูรณ์พร้อมต่อการเติบโต และความสามารถในการเอาตัวรอดขั้นสูงสุดของบิตคอยน์ผ่านมุมมองของฟังไจ (ระบบการทำงานของเห็ดรา) เครือข่ายสิ่งมีชีวิตที่แข็งแกร่งที่สุดในปฐพี และทำไมสิ่งเหล่านี้ถึงทำให้บิตคอยน์กลายเป็นยาต้านไวรัสของระบบการเงินโลกที่ล้มเหลว ทางออกเดียวของมวลมนุษยชาติ มาร่วมหาคำตอบกันได้ในบทความนี้ครับ
มาค้นหาคำตอบว่า บิตคอยน์ นั้นเป็นปรากฏการณ์ทางสังคมได้อย่างไร ด้วยการพิจารณาผ่านมุมมองของเห็ดที่น่าพิศวง สำรวจวงจรการเกิดใหม่ (หรือ Hype Cycles) เห็ดราวิทยาในวิถีชีวิต (หรือ Ethnomycology) และเหล่ากลุ่มสาวกลัทธิซาโตชิ
“เมื่อเรามี Seed (ที่ดีแล้ว?) เราจะทำการสร้าง Private Key และ Public Key
ที่จะนำไปสู่ Address ที่เอาไว้รับ - ส่งเงินของเราได้อย่างไร?
ทำไมรู้ Public Key แล้ว ย้อนกลับไปหา Private Key หรือ Seed ไม่ได้ ?” ทำความเข้าใจหลักการทำงานเบื้องหลัง (ของเบื้องหลัง) ของ Bitcoin Part 1
สำรวจความสัมพันธ์ระหว่าง บิตคอยน์ กับ หน่วยย่อยของฟังไจอย่าง ไมซีเลียม (Mycelium) ซึ่งเป็นเสมือน “ระบบอินเทอร์เน็ตแห่งธรรมชาติของโลก” สองสิ่งนี้ต่างก็มีความคล้ายคลึงกันอย่างน่าอัศจรรย์
การแยกอำนาจทางการเงินออกจากรัฐ
ทำไมจึงเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการเปลี่ยนสังคมสู่อิสรภาพที่แท้จริง
เป็นเวลากว่า 7 ปีแล้ว นับจากวันที่ "อ.พิริยะ สัมพันธารักษ์" ตัดสินใจบอกลาระบบเฟียตเพื่อหันมาทุ่มเทให้กับสิ่งที่เจ้าตัวเชื่อมั่น วันนี้คงไม่มีใครในวงการบิตคอยน์ไทยที่ยังไม่รู้จักกับปูชนียบุคคลท่านนี้ จากจุดเริ่มต้น ณ รายการ “เลิกเม่า” จนโด่งดังสุด ๆ ไปกับรายการ “CDC BitcoinTalk” การเดินทางอันแสนยาวไกลของ อ.พิริยะ ได้พาให้พวกเราทุกคนมาพบกับ “Right Shift” ในวันนี้ ซึ่งถือได้ว่าเป็น "Bitcoin Only Company" แห่งแรกของไทยที่เปิดตัวออกสู่สายตาสาธารณชน
บิตคอยน์ไม่เหมือนชิตคอยน์ แล้วทำไมต้องเป็นบิตคอยน์? ก่อนที่เราจะเริ่มพิจารณาเหรียญดิจิทัลอื่น ๆ ก็ควรแยกสองสิ่งนี้ออกจากกันให้เป็นเสียก่อน ถ้าคุณอยากรู้ว่ามันต่างกันอย่างไรแล้วล่ะก็ ตามผมมาได้เลย!
“การสร้างเด็กให้แข็งแรงนั้น ง่ายกว่าการซ่อมผู้ใหญ่ที่เกิดความเสียหายแล้ว” “It is easier to build strong children than to repair broken men.” – Frederick Douglass
ถ้าเราอยากจะเป็น 1% ของคนที่ถือครองบิตคอยน์ ต้องซื้อบิตคอยน์เท่าไรถึงจะพองั้นหรือ? คำตอบของคำถามนี้มันไม่ยากเท่าไหร่ ถ้าใจเราถึง
หลังจากเปิด Public payment server ให้พวกเรามาลองใช้กันฟรี ๆ ได้ 1 สัปดาห์ ยังไม่เก็บค่าธรรมเนียมผ่านทาง ไม่เก็บเซอร์วิสชาร์จใด ๆ ทั้งสิ้น พบว่าพวกเรายังมาลองกันน้อย ผมเดาว่าส่วนหนึ่งเป็นเพราะเสียดาย sats กับอีกส่วนหนึ่งเป็นเพราะยังไม่เข้าใจระบบของมันเลยไม่กล้าใช้.. บทความนี้ผมจะปลดล็อคให้ครับ
จะเข้าใจไลท์นิ่งเน็ตเวิร์กนั้นไม่ง่าย แต่ไม่ยากเกินไปสำหรับคุณ และนี่คือความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับไลท์นิ่งเน็ตเวิร์กที่ผู้ใช้งานทั่วไปอย่างคุณควรรู้เอาไว้!
กระบวนการแสวงหาความจริงที่ถูกบิดเบือนนั้น ทำให้ “บิตคอยน์” มีลักษณะเหมือนกับสิ่งหนึ่งที่ถือกำเนิดขึ้นมา 2,600 ปีก่อนด้วยการมีเป้าหมายไม่ต่างกันแม้แต่น้อย และสิ่งนั้นถูกเรียกว่า “ธรรมะ” บทความนี้จะชวนคุณไปค้นหาคุณค่าและความหมายที่เหมือนกันอย่างอัศจรรย์ของ 2 สิ่งนี้
พูดกันว่าการเป็นเจ้าของ Bitcoin คือการมีอธิปไตยทางการเงินของตัวเอง และเมื่อคุณเป็นเจ้าของเงินเองอย่างแท้จริงนั้น คุณก็สมควรคิดเหมือนนายแบงก์ ไม่ใช่แค่ลูกค้าของแบงก์เหมือนเดิมอีกต่อไป
บทความนี้ผมจะสอนวิธีการสร้าง Tip Box บน LNbits นะครับ ใครที่สนใจอยากมีรายได้เป็นบิตคอยน์กับเขาบ้าง ลองศึกษากันดูครับ
LNbits เป็น Open source lightning payment system ที่เหมาะกับกิจการที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนัก ใครต้องการรับ Lightning ผมจะแนะนำคร่าว ๆ ไว้ในบทความนี้ครับ
จากบทความก่อนที่คุณได้รู้วิธีการสร้างชุด Seed ด้วยตัวเองโดยไม่ต้องเชื่อใจผู้สร้าง Hardware Wallet คราวนี้ผมจะมาพูดถึงวิธีการเก็บ Seed ให้ปลอดภัย ว่าคุณต้องคำนึงถึงเรื่องอะไรบ้าง
"วิธีที่ดีที่สุดในการไม่ให้นักโทษหนี คือ ทำให้นักโทษ แน่ใจว่า เขาไม่ได้อยู่ในคุก"
“The best way to keep a prisoner from escaping is to make sure he never knows he is in a prison.”
Fyodor Dostoyevsky
เราสามารถที่จะสร้าง Multisig Wallet ได้ด้วย โดยที่ไม่ต้องเสียเงินซื้อ Hardware Wallet เลยด้วยซ้ำ แต่ต้องมีคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง และ Flashdrive 1 อัน พร้อมกับความกล้าที่จะลองทำตามขั้นตอนต่างๆ เหล่านี้ “ด้วยตนเอง”
เพื่อนๆ ที่สนใจบิตคอยน์อาจพอรู้กันบ้างว่าปัจจุบันเรามีระบบที่เรียกว่า Lightning Network ที่ช่วยให้เราสามารถรับส่งเงินกันได้ง่ายขึ้น แถมยังรวดเร็ว แล้วเราควรเลือกใช้ Lightning Wallet อันไหนดีล่ะ?